วันอังคารที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2553

บัญชี 1

บัญชีการก่อหนี้ (เป็นดาบสองคม)
ถ้าผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ > ต้นทุนต่อหนี้ (อัตราดอกเบี้ย)
การก่อหนี้จะทำให้ผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) สูงขึ้น
ROI = กำไรสุทธิ
เงินลงทุน
ถ้ากิจการใช้เงินลงทุนจากส่วนของเจ้าของทั้งหมด
ROI = 28000 = 14 %
200000
ถ้ากิจการใช้เงินลงทุนจากส่วนของเจ้าของ : หนี้ ในสัดส่วน 50 : 50


ทุนส่วนของเจ้าของทั้งหมด
ทุน : หนี้
กำไรจากการดำเนินงาน
ดอกเบี้ย
28000
0
28000
10000
กำไรสุทธิ
28000
18000

แต่...

ทุนส่วนของเจ้าของทั้งหมด
ทุน : หนี้
กำไรจากการดำเนินงาน
ดอกเบี้ย
2000
0
2000
10000
กำไรสุทธิ
2000
-8000

ROE = กำไรสุทธิ
ทุนส่วนของเจ้าของ

ถ้าใช้ของเจ้าของทั้งหมด ROE = 2000 = 1%
200000

ถ้าก่อหนี้ด้วย ROE = -8000 = -8%
100000


การบัญชีบริหาร à เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้บริหารสามารถวางแผน+ควบคุมการดำเนินงานภายในกิจการ รวมถึงการวิเคราะห์
ข้อมูลทางการบัญชีการเงินเพื่อการตัดสินใจ
การบัญชีต้นทุน à เน้นเฉพาะในส่วนของการคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์+การใช้ข้อมูลทางด้านต้นทุนของกิจการ เพื่อการวางแผน
ควบคุม+ตัดสินใจเท่านั้น

กำไรส่วนเกิน = ยอดขาย - ต้นทุนผันแปร è เป็นส่วนที่จะไปชดเชยต้นทุนคงที่
กำไรส่วนเกินต่อหน่วย = ราคาขายต่อหน่วย - ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย
è อัตรากำไรส่วนเกิน = 1 – อัตราต้นทุนผันแปร

จุดคุ้มทุน
ยอดขาย = ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ + 0 (กำไรสุทธิ)

จุดคุ้มทุน (หน่วย) = ต้นทุนคงที่
กำไรส่วนเกินต่อหน่วย
จุดคุ้มทุน (บาท) = ต้นทุนคงที่
อัตรากำไรส่วนเกิน
= จุดคุ้มทุน (หน่วย) x ราคาขายต่อหน่วย
กำไรหลังหักภาษี
1 - อัตราภาษี
ภาษี
ปริมาณขายเพื่อให้ได้กำไรสุทธิตามต้องการ = ต้นทุนคงที่ +
กำไรส่วนเกินต่อหน่วย

Margin of safety è บริษัทสามารถทำยอดได้ต่ำกว่าที่คาดไว้กี่% จึงจะไม่ขาดทุน
อัตราส่วนเกินที่ปลอดภัย (%) = ยอดขายโดยประมาณ - ยอดขายจุดคุ้มทุน
ยอดขายโดยประมาณ

Degree of Operating Leverage

DOL = กำไรส่วนเกิน
กำไรก่อนหักภาษี
บริษัทที่มีค่า DOL สูงแสดงว่า มีค่าต้นทุนคงที่ > ต้นทุนผันแปร
ทำให้มีจุดคุ้มทุน + ความเสี่ยงสูงด้วย

เครื่องมือการวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจลงทุน
1. Payback Period è เลือกลงทุนในโครงการที่มีงวดระยะเวลาคืนทุนสั้นที่สุด
เพราะความเสี่ยงในการดำเนินงานจะน้อยกว่า
2. ARR è เลือกลงทุนในโครงการที่ให้อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย/หรืออัตราผลตอบแทนทางบัญชีสูงที่สุด
ARR = กำไรสุทธิ (ต้องหักค่าเสื่อมออกด้วย)
เงินลงทุนเริ่มแรก หรือ เงินลงทุนโดยเฉลี่ย = เงินลงทุนเริ่มแรก+ค่าซาก
2

3. NPV è เลือกลงทุนในโครงการลงทุนที่มีค่าเป็นบวก (ค่าสูง à ดี)
NPV = PV – Investment

4. IRR è เลือกลงทุนในโครงการที่ IRR > ต้นทุนของเงินทุน (ดอกเบี้ย)
IRR = อัตราผลตอบแทนของโครงการลงทุนที่ทำให้ NPV = 0
หรือ ที่ PV ของเงินสดรับสุทธิ = เงินลงทุน

5. PI è เลือกลงทุนในโครงการที่มีค่า > 1 เพราะจะทำให้ NPV มีค่าเป็น + ด้วย
ดัชนีความสามารถในการทำกำไร (PI) = PV
Investment

การจัดลำดับโครงการลงทุน è ดูจากค่า PI ที่มากที่สุดให้เป็นอันดับหนึ่งเรียงลำดับ



ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ)
EOQ = √2(ความต้องการ)(ต้นทุนในการสั่งซื้อ)
ต้นทุนในการเก็บรักษาต่อหน่วย

การเปรียบเทียบงบการเงิน
1. ใช้ดัชนีวิเคราะห์แนวโน้ม เป็นการวิเคราะห์ตามแนวนอน
รายการ
2544
2545
2546
2547
2548
ขาย
ต้นทุนขาย
กำไรขั้นต้น
ค่าใช้จ่ายในการขาย+บริการ
กำไรสุทธิ
100
100
100
100
100
103
104
101
101
100
127
129
124

101
145
150
138

95
158
164
141

61
พบว่า กำไรสุทธิของกิจการตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมามีแนวโน้มที่ลดลง

2. การวิเคราะห์ในแนวดิ่ง (Common-Size Analysis)

งบดุลเปรียบเทียบ
2547 2548
สินทรัพย์หมุนเวียน :
เงินสด 9.0 5.9
. .
. .
รวมทรัพย์สิน 100 100
หนี้สิน+ส่วนของผู้ถือหุ้น
หนี้สิน 17.5 17.2
ส่วนของผู้ถือหุ้น 60.6 58.9
รวมหนี้สิน+ส่วนของผู้ถือหุ้น 100 100

งบกำไรขาดทุนเปรียบเทียบ
2547 2548
ขาย 100 100
หัก ต้นทุนขาย 61.3 62.9
กำไรขั้นต้น 38.7 39.1
หัก คชจ.ในการดำเนินงาน . .
กำไรจากการดำเนินงาน . .
หัก ดอกเบี้ยจ่าย . .
กำไรก่อนหักภาษี . .
หัก ภาษี . .
กำไรสุทธิ 1.4 0.8
*** การวิเคราะห์แบบนี้จะชี้วัดว่าสัดส่วนแหล่งที่มา+แหล่งที่ใช้ไปเหมาะสมกันหรือไม่ ชี้ความเสี่ยงทางการเงินของกิจการ

Ratio

ระยะเวลาเก็บหนี้ = 365
อัตราส่วนการหมุนเวียนของลูกหนี้
มีค่าสูง แสดงว่า ระยะเวลาในการเก็บหนี้จะสั้น (ดี)


อายุของสินค้าคงคลัง = 365
อัตราส่วนการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง (Inventory Turnover)
มีค่าต่ำ แสดงว่า อายุของสินค้าคงคลังมาก หมายความว่า
- การบริหารจัดการสินค้าคงคลังขาดประสิทธิภาพ
- สินค้าคงคลังล้าสมัย ไม่สามารถจำหน่ายได้เร็ว




Total Asset Turnover
อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ทั้งหมด ถ้าลดลงแสดงว่าการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ต่างๆ ของกิจการในการก่อให้เกิดรายได้แก่กิจการมีประสิทธิภาพที่ลดลง

มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น = สินทรัพย์สุทธิ – ทุนหุ้มบุริมสิทธิ์
จำนวนหุ้นสามัญที่จำหน่ายแล้ว

อัตราผลตอบแทนเงินปันผล = เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น
ราคาคลาดของหุ้นสามัญ

อัตราส่วนเงินปันผลจ่ายต่อกำไร = เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น
กำไรต่อหุ้น

อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน = กำไรสุทธิ
เงินลงทุนทั้งหมด

อัตราผลตอบแทนในสินทรัพย์ = กำไรสุทธิ + ดอกเบี้ยจ่าย (สุทธิจากภาษี)
สินทรัพย์รวมโดยเฉลี่ย

อัตราส่วนตอบแทนในส่วนของเจ้าของ = กำไรสุทธิ + เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์
ส่วนของเจ้าของโดยเฉลี่ย (ส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ)

กำไรต่อหุ้น = กำไรสุทธิ + เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์
จำนวนหุ้นสามัญที่จำหน่ายแล้ว

อัตราส่วนราคาต่อกำไร = ราคาตลาดของหุ้นสามัญ
กำไรต่อหุ้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น